หน้าแรก
ผลงาน
ประชาสัมพันธ์
ร้องเรียน-ร้องทุกข์
ร้องเรียนการทุจริต
E-Service
แผนที่เว็บ
ติดต่อเรา
×
×
สายตรงผู้บริหาร
เบอร์โทร.นายก อบต.ผไทรินทร์
เบอร์โทร.ปลัด อบต.
ข้อมูลพื้นฐาน อบต.
ประวัติความเป็นมาของ อบต.
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
ข้อมูลทั่วไปของ อบต.
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
มาตรการเผยแพร่ข้อมูล
โครงสร้างการบริหาร
ทำเนียบผู้บริหาร
ทำเนียบฝ่ายสภา
หน่วยตรวจสอบภายใน
สำนักปลัด
กองคลัง
กองช่าง
กองการศึกษา ศาสนาฯ
กองสวัสดิการสังคมฯ
กองสาธารณสุขฯ
กองส่งเสริมการเกษตรฯ
หัวหน้าส่วนราชการ
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
แผนผังองค์กร
อำนาจหน้าที่ อบต.
คู่มือสำหรับประชาชน
คู่มือการปฏิบัติงานวาตภัย-งานป้องกันฯ
คู่มือขออนุญาตก่อสร้าง
คู่มืองานสารบรรณ
คู่มือการชำระภาษี อบต.ผไทรินทร์
คู่มือทะเบียนประวัติ
คู่มือปฏิบัติงานเบี้ยยังชีพ
คู่มือผลประโยชน์ทับซ้อน อบต.ผไทรินทร์
คู่มืองานพัสดุ
ข้อบัญญัติการควบคุมการเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์
คู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์
การจัดการสารสนเทศ
www.laas.go.th
info.dla.go.th
www.egov.go.th
www.itas.nacc.go.th/
www.lhr.dla.go.th/
เบอร์โทรที่รับเรื่องร้องเรียน
เบอร์โทรที่รับเรื่องร้องเรียน
แผนพัฒนาตำบล
แผนพัฒนาสามปี
การติดตามแผน
ควบคุมภายใน
แผนยุทธศาสตร์
แผนการดำเนินงาน
แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี 61-64
แผนการป้องกันการทุจริต
การป้องกันการทุจริต
แผนการป้องกันการทุจริต
ขอบัญญัติ
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561-2565
แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561-2565(เพิ่มเติม)
แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2566-2570
แผนบริหารจัดการความเสี่ยง
อบต.ในเครือข่าย
- - - - - -นครราชสีมา - - - - - -
หจก. โอพีเอสเทค
อบต.สำพะเนียง อ.โนนแดง
อบต.พันดุง อ.ขามทะเลสอ
อบต.บ้านปรางค์ อ.คง
อบต.สุขไพบูลย์ อ.เสิงสาง
อบต.ลำเพียก อ.เสิงสาง
อบต.มิตรภาพ อ.สีคิ้ว
อบต.วังโรงใหญ่ อ.สีคิ้ว
อบต.สระว่านพระยา อ.ครบุรี
อบต.มาบตะโกเอน อ.ครบุรี
อบต.โคกกระชาย อ.ครบุรี
อบต.โนนสมบูรณ์ อ.เสิงสาง
อบต.ดอนเมือง อ.สีคิ้ว
อบต.ตะแบกบาน อ.ครบุรี
อบต.สระพระ อ.พระทองคำ
อบต.พังเทียม อ.พระทองคำ
อบต.ลำคอหงษ์ อ.โนนสูง
อบต.พันชนะ อ.ด่านขุนทด
อบต. บ้านราษฎ์ อ.เสิงสาง
อบต.หนองบัวน้อย อ.สีคิ้ว
อบต.หลุมข้าว อ.โนนสูง
อบต.สีสุก อ.จักราช
อบต.คลองเมือง อ.จักราช
อบต.หนองขาม อ.จักราช
อบต.สัมฤทธิ์ อ.พิมาย
อบต.ดอนยาวใหญ่ อ.โนนแดง
อบต.หนองสรวง อ.ขามทะเลสอ
อบต.ทองหลาง อ.จักราช
อบต.ศรีละกอ อ.จักราช
อบต.หนองพลวง อ.ประทาย
อบต.ระเริง อ.วังน้ำเขียว
เทศบาลตำบลปักธงชัย อ.ปักธงชัย
อบต.ประสุข อ.ชุมพวง
อบต.ดอนใหญ่ อ.คง
อบต.มะเกลือใหม่ อ.สูงเนิน
อบต.วังหมี อ.วังน้ำเขียว
อบต.โนนรัง อ.ชุมพวง
อบต.ตลาดไทร อ.ชุมพวง
เทศบาลตำบลหินดาด อ.ห้วยแถลง
อบต.ห้วยแคน อ.ห้วยแถลง
อบต.ชีวึก อ.ขามสะแกแสง
อบต.โนนเมือง อ.ขามสะแกแสง
อบต.หนองหัวฟาน อ.ขามสะแกแสง
อบต.เมืองนาท อ.ขามสะแกแสง
อบต.กระเบื้องใหญ่ อ.พิมาย
เทศบาลตำบลรังกาใหญ่ อ.พิมาย
อบต.ดอน อ.ปักธงชัย
อบต.สาหร่าย อ.ชุมพวง
อบต.หนองหอย อ.พระทองคำ
อบต.ตะโก อ.ห้วยแถลง
เทศบาลตำบลห้วยแถลง อ.ห้วยแถลง
อบต.โนนประดู่ อ.สีดา
อบต. หลุ่งประดู่ อ.ห้วยแถลง
อบต.มะค่า อ.โนนไทย
อบต.ด่านจาก อ.โนนไทย
อบต.ค้างพลู อ.โนนไทย
อบต.ดอนตะหนิน อ.บัวใหญ่
อบต.โบสถ์ อ.พิมาย
อบต.ทัพรั้ง อ.พระทองคำ
อบต.เสิงสาง อ.เสิงสาง
อบต.ไพล อ.ลำทะเมนชัย
อบต.ขุนทอง อ.บัวใหญ่
อบต.ถนนโพธิ์ อ.โนนไทย
อบต.ถนนโพธิ์ อ.โนนไทย
อบต.ตะคุ อ.ปักธงชัย
เทศบาลตำบลเมืองคง อ.คง
อบต.โนนสำราญ อ.แก้งสนามนาง
อบต.มาบกราด อ.พระทองคำ
อบต.สีดา อ.สีดา
เทศบาลตำบลนกออก อ.ปักธงชัย
อบต.โคราช อ.สูงเนิน
อบต.หนองหว้า อ.บัวลาย
อบต.หนองจะบก อ.เมือง
ทต.เสิงสาง อ.เสิงสาง
อบต.ดอนมัน อ.ประทาย
อบต.บัวลาย อ.บัวลาย
อบต.ทับสวาย อ.ห้วยแถลง
อบต.ทุ่งสว่าง อ.ประทาย
- - - - - - บุรีรัมย์ - - - - - -
อบต.หนองบัวโคก อ.ลำปลายมาศ
อบต.สระแก้ว อ.หนองหงส์
อบต.บุโพธิ์ อ.ลำปลายมาศ
อบต.โคกสะอาด อ.ลำปลายมาศ
อบต.สำโรง อ.พลับพลาชัย
อบต.สนวน อ.ห้วยราช
อบต.โคกขมิ้น อ.พลับพลาชัย
อบต.หนองโดน อ.ลำปลายมาศ
อบต.โคกล่าม อ.ลำปลายมาศ
อบต.ทุ่งกระเต็น อ.หนองกี่
อบต.เมืองไผ่ อ.หนองกี่
อบต.บ้านแพ อ.คูเมือง
อบต.หินโคน อ.ลำปลายมาศ
อบต.ป่าชัน อ.พลับพลาชัย
อบต.หินเหล็กไฟ อ.คูเมือง
อบต.บ้านบัว อ.เมือง
อบต.เมืองแฝก อ.ลำปลายมาศ
เทศบาลตำบลแคนดง อ.แคนดง
อบต.หนองปล่อง อ.ชำนิ
อบต.ไทยสามัคคี อ.หนองหงส์
อบต.หนองชัยศรี อ.หนองหงส์
อบต.เมืองไผ่ อ.หนองกี่
อบต.เขาดินเหนือ อ.บ้านกรวด
อบต.บ้านยาง อ.ลำปลายมาศ
อบต.สองชั้น อ.กระสัง
อบต.โคกมะขาม อ.ประโคนชัย
อบต.สะเดา อ.นางรอง
อบต.ศรีภูมิ อ.กระสัง
อบต.ผไทรินทร์ อ.ลำปลายมาศ
อบต.บ้านคู อ.นาโพธิ์
อบต.ลุมปุ๊ก อ.เมือง
อบต.แดงใหญ่ อ.บ้านใหม่ไชยพจน์
อบต.ท่าม่วง อ.สตึก
อบต.กระสัง อ.สตึก
อบต.ตลาดโพธิ์ อ.ลำปลายมาศ
อบต.ทุ่งจังหัน อ.โนนสุวรรณ
อบต.เมืองแก อ.สตึก
อบต.ชุมแสง อ.สตึก
เทศบาลตำบลบ้านกรวดปัญญาวัฒน์
อบต.บ้านยาง อ.พุทไธสง
อบต.โคกสว่าง อ.หนองกี่
อบต.หินลาด อ.บ้านกรวด
อบต.โคกกลาง อ.ลำปลายมาศ
อบต.หนองกะทิง อ.ลำปลายมาศ
ทต.ทะเมนชัย อ.ลำปลายมาศ
อบต.หนองกะทิง อ.ลำปลายมาศ
อบต.เมืองฝาง อ.เมือง
อบต.สนามชัย อ.สตึก
อบต.หนองคู อ.ลำปลายมาศ
อบต.สนามชัย อ.สตึก
อบต.โคกมะม่วง อ.ปะคำ
อบต.โคกสนวน อ.ชำนิ
อบต.เมืองยาง อ.ชำนิ อ.ชำนิ
เทศบาลตำบลดอนอะราง อ.หนองกี่
ทต.บ้านกรวด อ.บ้านกรวด
- - - - - -ชัยภูมิ - - - - - -
อบต.ท่าหินโงม อ.เมือง
อบต.ดงกลาง อ.คอนสาร
อบต.คอนสาร อ.คอนสาร
อบต.รังงาม อ.เนินสง่า
อบต.ศรีสำราญ อ.คอนสวรรค์
อบต.หลุบคา อ.แก้งคร้อ
อบต.โนนคูณ อ.คอนสาร
อบต.ทุ่งนาเลา อ.คอนสาร
อบต.กวางโจน อ.ภูเขียว
อบต.โคกกุง อ.แก้งคร้อ
อบต.บ้างแก้ง อ.แก้งคร้อ
อบต.ส้มป่อย อ.จัตุรัส
อบต.บ้านค่าย
อบต.ช่องสามหมอ อ.แก้งคร้อ
องค์การบริหารส่วนตำบลรอบเมือง อ.เมือง
อบต.หนองขาม อ.แก้งคร้อ
อบต.ตลาดแร้ง อ.บ้านเขว้า
อบต.โนนแดง อ.บ้านเขว้า
อบต.ชีบน อ.บ้านเขว้า
อบต.โนนสะอาด อ.คอนสรรค์
- - - - - -สุรินทร์ - - - - - -
อบต.คอโค
อบต.หนองบัว อ.ท่าตูม
อบต.นาดี อ.นาดี
อบต.สะกาด อ.สังขะ
อบต.พระแก้ว อ.สังขะ
อบต.โคกยาง อ.ปราสาท
อบต.บ้านจารย์ อ.สังขะ
อบต.ธาตุ อ.รัตนบุรี
อบต.ประดู่ อ.สำโรงทาบ
อบต.นานวน อ.สนม
อบต.แจนแวน อ.ศรีณรงค์
อบต.สำโรงทาบ อ.สำโรงทาบ
ทต.กระหาด อ.จอมพระ
ท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์
อบต.ตรึม อ.ศรีขรภูมิ
อบต.ปรือ อ.ปราสาท
อบต.บ้านแร่ อ.เขวาสินรินทร์
อบต.พรมเทพ อ.ท่าตูม
อบต.เขวาสินรินทร์ อ. เขวาสินรินทร์
อบต.ไพรขลา อ.ชุมพลบุรี
อบต.อาโพน อ.บัวเชด
อบต.ไพล อ.ปราสาท
เทศบาลตำบลสระขุด อ.ชุมพลบุรี
อบต.โพนครก อ.ท่าตูม
ท้องถิ่นอำเภอปราสาท
อบต.ทุ่งกุลา อ.ท่าตูม
- - - - - - มหาสารคาม - - - - - -
อบต.ประชาพัฒนา อ.วาปีปทุม
อบต.โคกก่อ อ.เมือง
อบต.ท่าสองคอน อ.เมือง
อบต.ลาดพัฒนา อ.เมือง
- - - - - -ร้อยเอ็ด - - - - - -
อบต.น้ำใส อ.จตุรพัตรพิมาน
อบต.คำนาดี อ.โพนทอง
อบต.เขวาทุ่ง อ.ธวัชบุรี
อบต.เมืองน้อย อ.ธวัชบุรี
อบต.ทุ่งกุลา อ.สุวรรณภูมิ
อบต.กกโพธิ์ อ.หนองพอก
อบต.นาเลิง อ.เสลภูมิ
อบต.กกโพธิ์ อำเภอหนองพอกิ
อบต.ทุ่งทอง อ.เกษตรวิสัย
อบต.ทุ่งหลวง อ.สุวรรณภูมิ
อบต.ดงครั่งน้อย อ.เกษตรวิสัย
อบต.สระแก้ว อ.พนมไพร
- - - - - - อุบลราชธานี - - - - - -
อบต.เตย อ.ม่วงสามสิบ
อบต.หนองไข่นก อ.ม่วงสามสิบ
- - - - - - สกลนคร - - - - - -
เทศบาลตำบลตองโขบ จ.สกลนคร
อบต.เชิงชุม จ.สกลนคร
อบต.วังยาง จ.สกลนคร
อบต.พอกน้อย อ.พรรณานิคม
- - - - - - กาฬสินธุ์ - - - - - -
อบต.นามะเขือ จ.กาฬสินธุ์
อบต.สหัสขันธ์ อ.สหัสขันธ์
อบต.นาบอน อ.คำม่วง
- - - - - - ยโสธร - - - - - -
อบต.โนนเปือย อ. กุดชุม
อบต.โนนทราย อ.มหาชนะชัย
อบต. ไทยเจริญ อ.มหาชนะชัย
เทศบาลตำบลศรีแก้ว อ.เลิงนกทา
- - - - - -สระแก้ว - - - - - -
อบต.เบญจขร อ.คลองหาด
เทศบาลตำบลโคกสูง อ.โคกสูง
อบต.หันทราย อ.อรัญประเทศ
อบต.แซร์ออ อ.วัฒนานคร
อบต.หนองน้ำใส อ.วัฒนานคร
อบต.คลองไก่เถื่อน อ.คลองหาด
- - - - - -ปราจีนบุรี - - - - - -
อบต.บ้านนา อ.กบินทร์บุรี
อบต.วังดาล อ.กบินทร์บุรี
อบต.บ่อทอง อ.กบินทร์บุรี
อบต.ศรีมหาโพธิ อ.ศรีมหาโพธิ
อบต.คำโตนด อ.ประจันตคาม
อบต.ดงบัง อ.ประจันตคาม
- - - - - -ชลบุรี - - - - - -
อบต.ทุ่งขวาง อ.พนัสนิคม
อบต.นามะตูม อ.พนัสนิคม
อบต.หนองหงษ์ อ.พานทอง
อบต.วัดหลวง อ.พนัสนิคม
อบต. วัดสุวรรณ จ.ชลบุรี
ทต.ท่าบุญมี อ.เกาะจันทร์
อบต.หน้าประดู่ อ.พานทอง
- - - - - -ฉะเชิงเทรา - - - - - -
อบต.โพรงอากาศ อ.บางน้ำเปรี้ยว
อบต.บางคา อ.ราชสาส์น
อบต.หนองบัว อ.บ้านโพธิ์
อบต.ทุ่งพระยา อ.สนามชัยเขต
อบต.เกาะขนุน อ.พนมสารคาม
- - - - - - จันทบุรี - - - - - -
อบต.บางกะไชย อ.แหลมสิงห์
- - - - - - ระยอง - - - - - -
อบต.หนองตะพาน อ.บ้านค่าย
- - - - - - ตราด - - - - - -
อบต.แสนตุ้ง อ.เขาสมิง
- - - - - - ปทุมธานี - - - - - -
อบต.คลองหก จ.ปทุมธานี
อบต.บ่อเงิน จ.ปทุมธานี
- - - - - - สระบุรี - - - - - -
อบต.หนองโรง จ.สระบุรี
- - - - - - เพชรบูรณ์ - - - - - -
อบต.ประดู่งาม อ.ศรีเทพ
อบต.ยางงาม อ.หนองไผ่
- - - - - - ลพบุรี - - - - - -
อบต.บางพึ่ง อ.บ้านหมี่
อบต.แก่งผักกูด
อบต.เกาะรัง
อบต.ทุ่งท่าช้าง อ.สระโบสถ์
อบต.ท่าดินดำ อ. ชัยบาดาล
อบต.ห้วยหิน อ.ชัยบาดาล
- - - - - - อ่างทอง - - - - - -
อบต.ศาลเจ้าโรงทอง อ.วิเศษชัยชาญ
อบต.คำหยาด อ.โพธิ์ทอง
อบต.อบทม
อบต.หัวตะพาน อ.วิเศษชัยชาญ
- - - - - - อยุธยา - - - - - -
อบต.สำเภาล่ม จ.อยุธยา
- - - - - - กาญจนบุรี - - - - - -
อบต.วังกระแจะ อำเภอไทรโยค
อบต. ลุ่มสุ่ม อำเภอไทรโยค
อบต.ท่าขนุน อ.ทองผาภูมิ
- - - - - - น่าน - - - - - -
อบต.บ้านฟ้า อ.บ้านหลวง
ระบบเทคโนโลยีที่สนับสนุนการบริหารจัดการ
1.ระบบการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการติดตามหรือประเมินผลการดำเนินงานขององค์กร
2.ระบบรายงานผลและเปรียบเทียบผลการดำเนินงานเป้าหมาย
3.ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการเก็บข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการบริหารและจัดการความเสี่ยง
4.การควบคุมภายในระบบสารสนเทศและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการเก็บรวบรวมข้อมูลด้าน Competency
6.ระบบสารสนเทศข้อมูลทะเบียนประวัติ
7.ระบบสารสนเทศที่สามารถ Share ข้อมูลกลับหน่วยงานอื่นภายนอกองค์กร
8.การนำระบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ ผู้ได้เสียภายในองค์กร
9.ระบบ Back office สามารถ Share ข้อมูลระหว่างหน่วยงานภายในองค์กรค์
10.นำระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
หมู่บ้านในเขต อบต.
หมู่บ้านในตำบลผไทรินทร์
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
รายงานผลการประเมิน ITAS
มาตรการประหยัดพลังงาน
สถิติการให้บริการ
สถิติการบริการน้ำอุปโภค บริโภค
สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่
หน้าแรก
การซื้อขาย
การซื้อขาย
การซื้อขาย
การซื้อขาย
สัญญาซื้อขาย
คือ
สัญญาที่ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ผู้ซื้อ
และผู้ตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย
การโอนกรรมสิทธิ์
หมายถึง
การโอนความเป็นเจ้าของในทรัพย์สิน ที่ซื้อขายนั้นให้แก่ผู้ซื้อ
ผู้ซื้อเมื่อได้เป็นเจ้าของก็สามารถที่จะใช้ ได้รับประโยชน์
หรือจะขายต่อไปอย่างไรก็ได้
สำหรับเรื่องราคาทรัพย์สิน
จะชำระเมื่อไรนั้นเป็นเรื่องที่ผู้ซื้อผู้ขายจะต้องตกลงกัน
ถ้าตกลงกันให้ชำระราคาทันทีก็เป็นการซื้อขายเงินสด
ถ้าตกลงกันชำระราคาในภายหลังในเวลาใดเวลาหนึ่งเพียงครั้งเดียวตามที่ตกลงกันก็เป็นการซื้อขายเงินเชื่อ
แต่ถ้าผ่อนชำระให้กันเป็นครั้งคราวก็เป็นการซื้อขายเงินผ่อน
สำหรับการซื้อขายเงินผ่อนนั้น
เป็นที่นิยมมากในปัจจุบันเนื่องจากความต้องการในทางวัตถุมีมาก
แต่รายได้มีน้อยไม่เพียงพอที่จะซื้อสิ่งอำนวยความสะดวกได้ทันที่หลายๆอย่าง เช่น
โทรทัศน์ วิทยุ ตู้เย็น วิดีโอ ก็เลยนิยมที่จะซื้อเงินผ่อน
อย่างไรก็ตาม โดยปกติในการทำสัญญาซื้อขายทรัพย์สินนั้นทันที่ที่ทำสัญญา
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชิ้นนั้นก็จะโอนไปยังผู้ซื้อทันที
แม้ว่าจะยังไม่ได้ส่งมอบทรัพย์สินชิ้นนั้นให้ผู้ซื้อหรือแม้ผู้ซื้อจะยังไม่ได้ชำระเงินค่าทรัพย์สินนั้นก็ตาม
ผู้ซื้อก็ได้ความเป็นเจ้าของไปแล้ว ยกเว้นแต่ในกรณีของการซื้อเงินผ่อนนั้น
ผู้ซื้อและผู้ขายอาจจะตกลงกันว่าเมื่อผ่อนชำระเงินกันเสร็จแล้วกรรมสิทธิ์
ค่อยโอนไปเช่นนี้ก็ทำได้ แต่เนื่องจากการซื้อเงินผ่อนนี้
ผู้ซื้อมักได้ทรัพย์สินนั้นไปใช้ก่อนแล้วค่อยๆ
ผ่อนใช้ราคาของทรัพย์สินที่จะต้องจ่ายจึงมักจะรวมดอกเบี้ยไปด้วย
ทำให้ผู้ซื้อซื้อทรัพย์สินนั้นในราคาที่แพงกว่าท้องตลาดหรือเมื่อซื้อเป็นเงินสด
ดังนั้น หากผู้ซื้อไม่ลำบากจนเกินไปในการซื้อเป็น
หลักเกณฑ์ในการทำสัญญาซื้อขาย
:
(1)
ต้องมีบุคคล คือ ตัวผู้ซื้อและตัวผู้ขาย
ซึ่งทั้งสองคนนั้นจะต้องมีความคิด สติปัญญาพอสมควรที่จะตัดสินใจทำสัญญากันได้เอง
ซึ่งก็คือ ต้องเป็นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะ โดยปกติก็คือมีอายุ
20
ปีบริบูรณ์
(2)
ผู้ซื้อต้องมีความต้องการที่จะซื้อและผู้ขายต้องมีความต้องการที่จะขายทรัพย์สินนั้นจริงๆโดยทั้งสองฝ่ายได้แสดงความต้องการของตนให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ด้วย
(3)
ผู้ซื้อและผู้ขายต้องมีเป้าหมายในการทำสัญญาซื้อขาย ซึ่งก็คือ
ผู้ซื้อมีเป้าหมายที่จะได้กรรมสิทธิ์หรือความเป็นเจ้าของนั้น
ส่วนผู้ขายก็มีเป้าหมายที่จะได้เงินหรือราคาของทรัพย์สินนั้น
และเป้าหมายของทั้งสองฝ่ายนี้จะต้องไม่มีกฎหมายห้าม
ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
และต้องเป็นเป้าหมายที่อาจเกิดขึ้นได้ด้วย
(4)
ผู้ขายต้องโอนกรรมสิทธิ์ให้กับผู้ซื้อ
เราต้องเข้าใจด้วยว่าการโอนกรรมสิทธิ์นี้ตัวกรรมสิทธิ์เป็นสิ่งที่ไม่มีตัวตน
แต่เป็นสิ่งที่กฎหมายสมมุติขึ้น การโอนกรรมสิทธิ์จึงอาจจะเกิดขึ้น
แม้ว่าผู้ซื้อจะยังไม่ได้รับมอบทรัพย์ไปไว้ใช้สอยหรือไปไว้ในความครอบครองก็ตาม
(5)
ผู้ซื้อต้องตกลงว่าจะชำระราคาทรัพย์สินนั้นให้กับผู้ขาย ในกรณีนี้เพียงแต่ตกลงว่า
จะชำระก็พอแล้ว ยังไม่จำเป็นต้องมีการชำระกันจริงๆก็ได้
วิธีการในการทำสัญญาซื้อขาย
:
(1)
วิธีการในการทำสัญญาซื้อขายโดยปกติ
คือการที่ผู้ซื้อและผู้ขายต่างได้แสดงความจำนงว่าต้องการซื้อขายทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ซึ่งการแสดงความจำนงนั้นอาจจะทำโดยปากเปล่าก็ได้ หรือทำเป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้
หรือโดยวิธีการอย่างอื่นก็ได้ และสำหรับตัวทรัพย์สินที่จะซื้อขายกันโดยวิธีนี้ได้
คือ สังหาริมทรัพย์ สำหรับการซื้อขายทรัพย์สินประเภทนี้
เมื่อไม่ต้องทำตามวิธีการเฉพาะ ฉะนั้น
เมื่อมีการตกลงซื้อขายกันแล้วกรรมสิทธิ์โอนไปทันที
และการเกิดสัญญาซื้อขายยังเป็นการก่อให้เกิด
“
หนี้
”
ที่ฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องชำระให้แก่กันอีกด้วย
(2)
วิธีการเฉพาะที่กฎหมายกำหนดไว้ให้ผู้ซื้อผู้ขายต้องทำ
และถ้าไม่ทำตามที่กฎหมายกำหนดไว้แล้ว
สัญญาซื้อขายนั้นแม้จะได้ตกลงว่าจะซื้อจะขายก็ไม่อาจบังคับกันได้
เพราะกฎหมายถือว่าเสียเปล่าหรือเป็นโมฆะ คือใช้ไม่ได้นั่นเอง
วิธีการเฉพาะดังกล่าวนี้คือ
การทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าทีซึ่งกฎหมายกำหนดไว้สำหรับทรัพย์สินบางประเภท
คือ อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ซึ่งขออธิบายให้เข้าใจดังนี้
(
ก) อสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้
ได้แก่
1)
ที่ดิน
2)
ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินในลักษณะตรึงตราแน่นหนาถาวร เช่น บ้านเรือน ตึกแถว
อาคารสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งตรึงตรากับที่ดินอย่างถาวร ไม้ยืนต้นเป็นต้น
3)
ทรัพย์สินที่ประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน เช่น แม่น้ำ
ลำคลอง แร่ธาตุ กรวด ทราย เป็นต้น
4)
สิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เช่น ภาระจำยอม สิทธิอาศัย
สิทธิเก็บกิน และสิทธิจำนอง เป็นต้น
(
ข)
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษได้แก่
1)
เรือกำปั่น
หรือเรือที่มีระหว่าง
6
ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์มีระวางตั้งแต่
5
ตันขึ้นไป
2)
แพ
หมายความเฉพาะแต่แพที่เป็นที่อยู่อาศัยของคน
3)
สัตว์พาหนะ
หมายความถึงสัตว์ที่ใช้ในการขับขี่ลากเข็น และบรรทุก
ซึ่งสัตว์เหล่านี้ต้องทำตั๋วรูปพรรณแล้ว ได้แก่ ม้า ช้าง โค
กระบือ
สาระสำคัญของสัญญาซื้อขาย
:
(
ก)
ต้องมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
ปัญหาว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้นโอนไปเมื่อไร
หลัก
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นจะโอนไปยังผู้ซื้อตั้งแต่เมื่อได้ตกลงทำสัญญาซื้อขายกัน
ข้อยกเว้น
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นยังไม่โอนไป ในกรณีดังต่อไปนี้
1)
สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดที่มีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา
ซึ่งกรรมสิทธิ์จะโอนก็ต่อเมื่อเกิดเงื่อนไขหรือถึงกำหนดเงื่อนเวลา
2)
สัญญาซื้อขายทรัพย์ที่ยังไม่เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง หมายถึง
สัญญาซื้อขายทรัพย์ที่ยังไม่ได้กำหนดประเภทหรือจำนวนไว้แน่นอนว่าอันไหน สิ่งไหน
ตัวไหน ในกรณีเช่นนี้กรรมสิทธิ์จะโอนก็ต่อเมื่อได้ทำให้เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแล้ว
โดยการนับ ชั่ง ตวง วัด หรือคัดเลือกทรัพย์ เพื่อให้เกิดความแน่นอน ชิ้นไหน อันไหน
ตัวไหน หรือจำนวนไหน ตัวอย่างเช่น ตกลงซื้อมะพร้าว
50
ลูก ซึ่งรวมอยู่ในกองใหญ่
กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนจนกว่าจะเลือกมะพร้าว
50
ลูกนั้นออกมาจากกองก่อน
3)
สัญญาซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ยังต้องดำเนินการบางอย่างเพื่อให้รู้ราคาแน่นอนในกรณีนี้
กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปจนกว่าจะมีการกระทำ เพื่อให้รู้ราคานั้นก่อน ตัวอย่างเช่น
ซื้อมะพร้าวทั้งกอง ในราคาลูกละ
1
บาท
ความจริงมะพร้าวทั้งกองเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแล้วเพียงแต่ยังไม่ทราบว่ามะพร้าวกองนั้น
มีกี่ลูกเพื่อคำนวณราคาเท่านั้น เพราะฉะนั้นจะต้องรู้ก่อนว่ามะพร้าวกองนั้นมีกี่ลูก
กรรมสิทธิ์ถึงจะโอน
(
ข) ต้องมีการตกลงว่าจะชำระราคา
เพียงแต่ตกลงกันว่าจะชำระราคาก็เป็นเพียงพอแล้ว ยังไม่ต้องชำระราคาทันที
จะตกลงชำระกันในภายหลัง หลังจากสัญญาเกิดขึ้นแล้วก็ได้
(
ค)
บุคคลที่มีสิทธิทำสัญญา ดังได้กล่าวมาตอนแรกแล้วว่าทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
จะต้องเป็นคนบรรลุนิติภาวะ คือ อายุ
20
ปีบริบูรณ์ หรือบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส
ถ้าทั้งชายหญิงมีอายุ
17
ปีบริบูรณ์แล้ว อย่างไรก็ตาม
เหตุการณ์ที่เราพบในชีวิตประจำวันจะเห็นว่าผู้เยาว์หรือคนที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่างๆก็ไปทำสัญญาซื้อขายต่างๆมากมาย
เช่น ซื้อสมุด ดินสอ ยางลบ
หรืออาหารกลางวันรับประทานที่โรงเรียนตรงนี้ปัญหาว่าเขาจะทำได้หรือไม่
คำตอบอยู่ในบทยกเว้นในเรื่องการทำนิติกรรมของผู้เยาว์
ซึ่งในกรณีเหล่านี้ถือว่าสามารถจะทำได้
เพราะเป็นการกระทำที่สมแก่ฐานารูปและจำเป็นแก่การดำรงชีพด้วย
สำหรับผู้ซื้อนั้น เมื่อมีคุณสมบัติกล่าวข้างต้นก็พอเพียงเป็นผู้ซื้อแล้ว
สำหรับผู้ขายนั้นเพียงแต่บรรลุนิติภาวะอย่างเดียวไม่เพียงพอ
ยังต้องเป็นผู้มีสิทธิที่จะขายทรัพย์สินนั้น
เพื่อที่ผู้ซื้อจะได้กรรมสิทธิ์โดยสมบูรณ์ได้อีกด้วย สำหรับผู้ที่ถือว่า
“
มีสิทธิที่จะขายทรัพย์สิน
”
นั้นได้แก่
เจ้าของกรรมสิทธิ์
หมายถึง ผู้ที่เป็นกรรมสิทธิ์ที่จะขายนั้นเอง ซึ่งตามหลักกฎหมายแล้ว
ผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ย่อมมีอำนาจในการจ่ายโอนทรัพย์สินของตน ซึ่งคำว่า
“
จำหน่าย
”
ในที่นี่หมายถึง
การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นไม่ว่าโดยกระทำการใดๆก็ตาม
เพราะฉะนั้นในเวลาที่จะทำสัญญาซื้อขาย
ผู้ซื้อจะต้องมีความระมัดระวังพิจารณาดูให้ดีว่า
ผู้ขายเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือไม่ เพราะถ้าไม่เป็น
หากผู้ซื้อทำการซื้อไปก็จะได้กรรมสิทธิ์ตามหลักเรื่อง
“
ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน
”
เพราะถ้าผู้โอนหรือผู้ขายในกรณีที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ผู้รับโอนหรือผู้ซื้อก็ย่อมไม่มีกรรมสิทธิ์ไปด้วย
หน้าที่และความรับผิดของผู้ขาย
:
เมื่อสัญญาซื้อขายเกิดขึ้นแล้ว กล่าวคือ
เมื่อมีการแสดงเตนาที่ประสงค์ต้องตรงกันระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย
(
ที่บรรลุนิติภาวะแล้ว ) ในทรัพย์สิ่งใดสิ่งหนึ่ง
เพื่อที่ผู้ซื้อจะได้ไปซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและเพื่อที่ผู้ขายจะได้รับราคาของทรัพย์นั้น
ดังนี้ เราเรียกว่า สัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว และผู้ขายก็มี
“
หนี้
”
หรือ
“
หน้าที่
”
ที่จะต้องปฎิบัติตามสัญญาซื้อขายต่อไป
ถ้าผู้ขายบิดพลิ้วไม่ยอมปฏิบัติตามนั้นย่อมก่อให้เกิด
“
ความรับผิด
”
ตามมา สำหรับ
“
หนี้
”
หรือ
“
หน้าที่
”
ของผู้ขายนั้นได้แก่
(1)
การส่งมอบ
ผู้ขายต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ขายให้แก่ผู้ซื้อด้วยความสมัครใจ
ซึ่งจะส่งมอบด้วยวิธีการใดๆ ก็ได้
ขอเพียงให้ทรัพย์สินนั้นเข้าไปอยู่ในเงื้อมมือของผู้ซื้อก็พอแล้ว เช่น
การส่งมอบหนังสือ อาจใช้วิธีการยื่นให้ การส่งมอบรถยนต์
อาจใช้วิธีการส่งมอบกุญแจก็ได้ แต่ที่สำคัญคือว่า จะต้องส่งมอบภายในเวลา และ ณ
สถานที่ที่ตกลงกันเอาไว้ ถ้าไม่มีการตกลงกันและทรัพย์ที่ส่งมอบ
ซื้อขายนั้นเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแล้ว ตามกฎหมายผู้ขายต้องส่งมอบ ณ
สถานที่ที่ทรัพย์นั้นอยู่ในเวลาที่ทำสัญญาซื้อขาย แต่ถ้าไม่ใช้ทรัพย์เฉพาะสิ่ง
ต้องส่งมอบ ณ ภูมิลำเนาปัจจุบันของผู้ซื้อ
ผู้ขายต้องส่งมอบทรัพย์สินตามจำนวนที่ตกลงกันไว้ไม่มากเกินไป หรือไม่น้อยเกินไป
และต้องไม่นำทรัพย์อื่นมาปะปนด้วย เพราะถ้าส่งมอบน้อยเกินไปสำหรับสังหาริมทรัพย์
ผู้ซื้อมี
2
ทางเลือกคือ
1.
ไม่รับมอบไว้เลย หรือ
2.
รับมอบไว้
แต่ใช้ราคาน้อยลงตามส่วนของทรัพย์สินที่ส่งมอบ
แต่ถ้าส่งมอบมากเกินไปสำหรับสังหาริมทรัพย์ ผู้ซื้อมี
3
ทางคือ
1.
อาจจะรับไว้เฉพาะตามจำนวนที่ตกลงกันในสัญญา และส่วนที่เกินจะไม่รับเลยก็ได้
2.
ไม่รับทั้งหมดเลย หรือ
3.
รับไว้ทั้งหมด แต่ต้องใช้ราคาสำหรับส่วนที่เกินด้วย
ส่วนกรณีที่ผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินตามสัญญาปะปนทรัพย์สินอื่นมาด้วย
ผู้ซื้อมีทางเลือก
2
ทางคือ
1.
รับมอบเฉพาะทรัพย์สินตามที่ตกลงในสัญญา
และไม่รับมอบทรัพย์สินส่วนที่ปะปนมา หรือ
2.
ไม่รับมอบไว้เลยไม่ว่าส่วนที่เป็นไปตามสัญญาหรือส่วนที่ปนเข้ามาก็ตาม
แต่ถ้าการส่งมอบทรัพย์สินที่มากเกินไปหรือน้อยเกินไปนั้นเป็นอสังหาริมทรัพย์
ผู้ซื้อมี
2
ทางเลือกคือ
1.
รับมอบทรัพย์ตามจำนวนที่สัญญากันไว้
แล้วใช้ราคาตามจำนวนที่รับไว้จริง หรือ
2.
ไม่รับมอบไว้เสียเลย
(2)
ผู้ขายต้องไม่ชำรุดบกพร่อง ซึ่งในความชำรุดบกพร่องในที่นี้ หมายถึง
ลักษณะที่ทรัพย์สินที่ซื้อขายในตัวของมันเองมีความชำรุดหรือมีความบกพร่องอยู่จนเป็นเหตุให้ทรัพย์นั้นราคาตกหรือไม่เหมาะแก่การใช้ประโยชน์ตามปกติหรือตามสภาพของทรัพย์สินนั้น
และความบกพร่องหรือความชำรุดนี้จะต้องมีอยู่ก่อนหรือตามสภาพของสัญญาซื้อขายเท่านั้น
ตัวอย่าง นายเขียวซื้อแจกันจากนายเหลืองหนึ่งใบ ในราคา
50
บาท
ปรากฏว่าก่อนส่งมอบหรือขณะส่งมอบนั้น แจกันเกิดร้าวขึ้นมา
นายเหลืองผู้ขายก็ต้องรับผิดไม่ว่าจะรู้หรือไม่ว่ามีความชำรุดบกพร่องอยู่ก็ตาม
ยิ่งถ้ารู้หรือเป็นคนทำให้ทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้นชำรุดบกพร่องเองด้วยแล้ว
ยิ่งต้องรับผิดเลยที่เดียว
อย่างไรก็ตาม
ในบางกรณีแม้ทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้นจะชำรุดบกพร่องมาก่อน หรือในขณะที่ซื้อขายกัน
ผู้ขายอาจจะต้องไม่รับผิด ในกรณี
1)
ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วในเวลาซื้อขายว่ามีความชำรุดบกพร่องหรือควรจะได้รู้
ถ้าเขาใช้ความระมัดระวังตามปกติ ตัวอย่างเช่น
ผู้ซื้อเห็นทุเรียนเน่าอยู่แล้วในเวลาซื้อขาย หรือผู้ขายเจาะไว้ให้ดู
ควรจะดูกลับไม่ดูกลับซื้อไป ผู้ขายก็ไม่ต้องรับผิด
2)
ถ้าความชำรุดบกพร่องนั้นได้เห็นอยู่แล้วในเวลาส่งมอบ
และผู้ซื้อรับไว้โดยมิได้ทักท้วงประการใด
3)
ถ้าผู้ซื้อทรัพย์สินนั้นจากการขายทอดตลาด
เพราะในการขายทอดตลาดนั้นเป็นการขายที่เปิดเผยต่อสาธารณะ
ผู้ซื้อน่าจะได้มีโอกาสตรวจสอบก่อนแล้ว
4)
ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายได้ตกลงกันไว้ว่า
ผู้ขายไม่ต้องรับผิดในความชำรุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ซื้อขาย
5)
ผู้ขายมีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ปลอดจากการถูกรอนสิทธิ กล่าวคือ
เมื่อผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายไปแล้ว
ผู้ซื้อจะต้องไม่ถูกคนอื่นมารบกวนขัดสิทธิในการครองทรัพย์สินนั้นโดยปกติสุข
สิทธิของผู้ซื้อ
:
1)
สิทธิที่จะได้ตรวจตราดูทรัพย์สินที่ผู้ขายส่งมอบ
2)
สิทธิที่จะไม่รับมอบทรัพย์สินจากผู้ขาย เมื่อผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินนั้นน้อยเกินไป
(
ขาดตกบกพร่อง) กว่าที่ได้ตกลงกัน หรือมากเกินไป (ล้ำจำนวน) กว่าที่ได้ตกลงกัน
3)
สิทธิที่จะเรียกให้ผู้ขายปฏิบัติการชำระหนี้
หรือปฏิบัติการชำระหนี้ให้ถูกต้องตรงตามที่ตกลงกันไว้
4)
สิทธิที่จะยึดหน่วงราคา ในกรณีดังต่อไปนี้
a.
ผู้ซื้อพบเห็นความชำรุดบกพร่องในทรัพย์สินที่ซื้อ
ผู้ซื้อมีสิทธิที่จะไม่ชำระราคาจนกว่าผู้ขายจะหาประกันอันสมควรให้
b.
ผู้ซื้อถูกผู้รับจำนองหรือคนที่เรียกร้องเอาทรัพย์สินที่ขายนั้นขู่ว่าจะฟ้องเป็นคดีหรือมีสาเหตุที่เชื่อได้ว่าจะถูกขู่
ผู้ซื้อจะชำระราคาให้ต่อเมื่อผู้ขายหาประกันให้
หรือต่อเมื่อผู้ขายได้แก้ไขให้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
c.
เมื่อมีผู้ผิดนัดไม่ส่งมอบทรัพย์สินที่ขายให้
ผู้ซื้อก็ยังไม่ชำระราคาจนกว่าผู้ขายจะจัดการส่งมอบทรัพย์สินที่ขายให้
5)
สิทธิในการได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหาย
เมื่อผู้ขายปฏิบัติการชำระหนี้ไม่ถูกต้อง เช่น ส่งมอบทรัพย์ที่ชำรุดบกพร่อง
หรือทรัพย์ที่บุคคลอื่นมีสิทธิเหนือทรัพย์นั้นดีกว่าผู้ซื้อ
(
ถูกรอนสิทธิ)
6)
สิทธิในการเลิกสัญญาและเรียกค่าเสียหายได้อีก
ตามหลักทั่วไป
หน้าที่และความรับผิดของผู้ซื้อ
:
(1)
หน้าที่ในการรับมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายตามเวลา
ตามสถานที่และด้วยวิธีการตามที่ตกลงกันในสัญญาซื้อขาย
เว้นแต่ผู้ซื้อจะมีสิทธิบอกปัดในกรณีที่เป็นสังหาริมทรัพย์เมื่อผู้ขายส่งทรัพย์สินให้มากเกินไปหรือน้อยกว่าไปกว่าที่ได้ตกลงกันไว้
หรือผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินตามที่ตกลงกันปะปนกับทรัพย์สินอย่างอื่น
หรือในกรณีที่เป็นอสังหาริมทรัพย์
ผู้ขายส่งมอบอสังหาริมทรัพย์นั้นมากเกินไปหรือน้อยกว่าเกินไปจาที่ได้ตกลงกันไว้
(2)
หน้าที่ในการชำระราคาทรัพย์สินที่ซื้อขายตามราคาที่กำหนดไว้ในสัญญา
หรือตามทางการที่คู่สัญญา เคยประพฤติปฏิบัติต่อกัน
แต่ถ้าไม่ได้กำหนดราคาไว้เป็นที่แน่นอน ผู้ซื้อก็ต้องชำระราคาตามสมควร
และการชำระราคาก็ต้องชำระภายในเวลาที่กำหนดตามสัญญาด้วย
แต่ถ้าหากไม่ได้กำหนดเวลาไว้
ให้ชำระราคาในเวลาเดียวกับเวลาที่ส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้น
(3)
หน้าที่ในการชำระค่าธรรมเนียมในการซื้อขาย หากตกลงกันไว้ในสัญญาว่า
ให้ผู้ซื้อชำระคนเดียวทั้งหมด แต่ถ้าไม่ได้ตกลงกันไว้
ผู้ซื้อก็ต้องมีหน้าที่ชำระค่าธรรมเนียมครึ่งหนึ่ง
สิทธิของผู้ขาย
:
(1)
สิทธิที่จะยึดหน่วงทรัพย์สินนั้นไว้
ในกรณีผู้ซื้อกลายเป็นบุคคลล่มละลายภายหลังการซื้อขาย แต่ก่อนการส่งมอบทรัพย์สิน
หรือในกรณีที่ผู้ซื้อล้มละลายอยู่แล้วในเวลาที่ทำการซื้อขายโดยที่ผู้ขายไม่รู้ถึงการล่มละลายนั้น
หรือผู้ซื้อทำให้หลักทรัพย์ที่ให้ไว้เป็นค้ำประกัน การชำระราคานั้นเสื่อมเสีย
หรือลดน้อยถอยลง เช่น นายแสดซื้อตู้จากนายส้มในวันที่
1
มีนาคม
2536
กำหนดส่งตู้กันในวันที่
15
มีนาคม
2536
ชำระราคาวันที่
18
มีนาคม
2536
ต่อมาในวันที่
7
มีนาคม
2536
นายแสดถูกศาลส่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย ดังนี้
นายส้มไม่ต้องส่งตู้ให้นายแสดในวันที่
15
มีนาคม
2536
(2)
สิทธิที่จะเรียกให้ผู้ซื้อชำระหนี้ ซึ่งถ้าผู้ซื้อไม่ชำระ
ผู้ขายอาจนำทรัพย์สินที่ยึดหน่วงไว้ออกขายทอดตลาดก็ได้
(3)
สิทธิในการริบมัดจำ (ถ้าได้มีการให้มัดจำกันไว้) และเรียกค่าเสียหาย
(4)
สิทธิในการเลิกสัญญา และเรียกค่าเสียหายได้อีก
อายุความในการฟ้องร้อง
:
เมื่อผู้ขายปฏิบัติการชำระหนี้ หรือปฏิบัติหน้าที่ตามสัญญาซื้อขายไม่ถูกต้อง
ผู้ซื้อมีสิทธิที่จะฟ้องร้องต่อศาลภายในอายุความตามกรณี ดังต่อไปนี้
(1)
ในกรณีที่ผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินให้มากเกินไป
หรือน้อยเกินไปกว่าที่ได้ตกลงกันในสัญญา ผู้ซื้อจะต้องฟ้องร้องภายใน
1
ปี
นับแต่เวลาส่งมอบทรัพย์สิน
(2)
ในกรณีที่ผู้ขายส่งมอบทรัพย์สินที่ชำรุดบกพร่อง ผู้ซื้อจะต้องฟ้องร้องภายใน
1
ปี
นับแต่เวลาพบเห็นความชำรุดนั้น เช่น นายดำทำสัญญาซื้อขายโทรทัศน์จากนายเหลือง
โดยส่งมอบโทรทัศน์กันภายในที่
5
เมษายน
2536
และนายดำก็รับมอบไว้แล้ว ต่อมาวันที่
20
เมษายน
2536
จึงพาช่างมาตรวจสอบดู ปรากฏว่าหลอดภาพเสียใช้ไม่ได้ ดังนี้
นายดำก็ต้องฟ้องคดี เพื่อความชำรุดบกพร่องภายในวันที่
20
เมษายน
2537
การที่ไปต่อว่าทวงถามเรียกค่าเสียหายจากผู้ขายไม่ใช่การฟ้องคดี
(3)
ในกรณีที่มีการรอนสิทธิ ผู้ซื้อต้องฟ้องร้องภายใน
3
เดือน
นับแต่คำพิพากษาเดิมถึงที่สุด หรือนับตั้งแต่วันที่มีข้อตกลงยอมความกัน
หรือวันที่ยอมตามบุคคลภายนอก
คำว่า
“
คดีเดิม
”
หมายถึง
คดีที่เป็นความกันระหว่างผู้ซื้อกับบุคคลภายนอก โดยที่ผู้ซื้อไม่ได้เรียกผู้ขาย
เข้ามาเป็นโจทย์ร่วมกับตนในคดีนั้นด้วย ดังกล่าวมา
ปฏิทินกิจกรรม
ตุลาคม 2567
อา
จ
อ
พ
พฤ
ศ
ส
29
30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
1
2
3
4
5
6
7
8
9
วันที่ 21 ตุลาคม 2567
งานการเงิน
การจัดเก็บภาษี
การปฎิบัติงานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน ปีงบประมาณ 2560
สถิติการคลัง
สถานะการคลัง
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดการพัสดุ
งานบริหารงานบุคคล
รับเรื่องร้องเรียนงานบุคคล
แผนยุทธศาตร์และการพัฒนาฯ
แผนพัฒนาบุคลากร 3 ปี
นโยบายกลยุทธ์การบริหาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ประกาศโครงร้างส่วนราชการ
ประกาศแผนอัตรากำลัง 3 ปี 2564-2566
การออกคำสั่งด้านการบริหารงานบุคคล
การมอบอำนาจ
คำบรรยายลักษณะงาน
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี 2564
การให้บริการ
ถาม-ตอบ
สมุดเยี่ยมชม
ดาวน์โหลด
กระดานสนทนา
เว็บไซต์ท้องถิ่นไทย
กรมส่งเสริมการปกครอง
สหกรณ์ออมทรัพย์
ท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์
เทศบาลเมืองบุรีรัมย์
อบจ.บุรีรัมย์
ท้องถิ่นบุรีรัมย์
จังหวัดบุรีรัมย์
สำนักงานประชาสัมพันธ์
สำนักงานพัฒนาชุมชน
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
ศูนย์ กกท.จังหวัดบุรีรัมย์
ม.ราชภัฏบุรีรัมย์
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
ข้อมูลประชากร
ความรู้เกี่ยวกับ อบต.
การดูแลการทำงานของ อบต.
ประชาชนสำคัญต่อ อบต. ?
อำนาจหน้าที่ของ อบต.
ความหมาย/ หน้าที่ของนายกฯ
ความหมาย/ หน้าที่ของสภาฯ
องค์ประกอบของ อบต.
อบต.เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
อบต.คืออะไร ?
แหล่งท่องเที่ยวบุรีรัมย์
กฎหมายน่ารู้
การกู้ยืมเงิน
การค้ำประกัน
การซื้อขาย
การจำนอง
การจำนำ
การเช่าทรัพย์
การขายฝาก
การเช่าซื้อ
การละเมิด
เว็บไซต์บริการ
สมาคมสันนิบาตเทศบาลไทย
คณะกรรมการพนักงานท้องถิ่น
คณะกรรมการการเลือกตั้ง
กลุ่มเพื่อนพนักงานส่วนตำบล
ค้นหาเบอร์โทรศัพท์
ฐานข้อมูลหน่วยงานรัฐ
ห้องสมุดกฏหมาย
เช็คเที่ยวบิน
สลากกินแบ่งรัฐบาล
ตารางรถทัวร์
ตารางรถไฟ
ตรวจสอบสภาพอากาศ
สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์
ออนไลน์ทั้งหมด
2
คน
หมายเลข IP
124.121.11.87
คุณเข้าชมลำดับที่
836,974
แบบสำรวจความคิดเห็น
คุณมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเว็บไซต์ใหม่ของ อบต.
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
โหวต
ผลโหวต
แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บรการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลผไทรินทร์
องค์การบริหารส่วนตำบลผไทรินทร์ อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ 31130
Tel
: 0-4466-6266
Fax
: 0-4466-6267
Copyright © 2023 by
OPSTECH
All Right Reserved.
ขอเครดิตฟรีหน่อยครับสมัครปุ๊บรับปั๊บไม่ต้องฝาก
สล็อตออนไลน์ เครดิตโบนัสได้เงินจริง slot938
สล็อต สล็อตออนไลน์ thaicasinobin
แจกเครดิตฟรี สล็อต บาคาร่า คาสิโนออนไลน์ JQK41
สล็อต เครดิตฟรี ไทยคาสิโนออนไลน์ thaibet55
kubet ไทยคาสิโนออนไลน์
แทงบอล ซอคเกอร์ลีก คะแนนฟุตบอล
เว็บพนันอันดับ1 HUC99 เว็บตรง ไม่ผ่านเอเย่นต์